อบรมภาวนาบ่าย เข้าพรรษา ๒๕๖๒
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อุบายภาวนา
การภาวนาทุกว๊านทุกวันนิ<br />
หนึ่งพุทโธ ที่เรานึกภาวนา<br />
มันบ่หายไปไหนได๋ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ พุทโธที่เราภาวนาบ่ได้ไหไหนนะ<br />
ฉะนั้นอุบายผูกใจสบ๊ายสบายอย่างหนึ่ง<br />
ให้นับเท่ากับอายุ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
ครบอายุของตนแล้วนะ จากนี้ก็มาตั้งใจกำหนดภาวนา<br />
ตั้งกายให้มันตรงดำรงสติจำเพราะหน้า <br />
ผูกใจไว้หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าธัมหายใจออกโม หายใจเข้าสังหายใจอออกโฆ<br />
พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br />
แล้วก็เหลือไว้แต่พุทโธ อย่างเดียวบาดนิ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ พุทโธแล้วมันเกิดความง่วงนอน มันเกิดความอยากหลับ<br />
พุทโธแล้วใจมันฟุ้งซ่านได้ไว้ได้ง่าย ให้นับ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธห้า<br />
ห้าแล้วกำหนดในใจ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หนึ่งแล้วกำหนดรู้แล้วลำดับขึ้นไปใหม่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
ถึงห้า ห้าแล้วก็กำหนดใจแล้วก็ลดลงมา <br />
อันนี้ภาวนามันแก้ได้ แก้ความคิดฟุ้งซ่านได้<br />
แก้ความโงกง่วงได้ ง่วงเกินไปให้ลืมตามองไปที่จุดใดจุดหนึ่ง<br />
รวมสายตาไว้พอสมควรแล้วก็ ค่อยๆหลับตาแล้วก็ค่อยๆภาวนา<br />
กำหนดภาวนาของตนไปอันนี้คือภาวนาอย่างหยาบ<br />
ภาวนาอย่างกลางกำหนดแต่ลมหายใจ<br />
หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ อันนั้นผู้สติกล้า<br />
ผู้ตั้งมั่นได้ไวนะ นี้อย่างกลางกำหนดรู้ลมหายใจ<br />
นี้เพิ่นฮ้องว่าอานาปานสติ ได้สติคือความรู้ลมหายใจ เข้า ออก<br />
อย่างละเอียดทีนี้ อย่างละเอียดตั้งร่างกายใหม่<br />
เหมือนกับเราวางสิ่งของไว้ ตั้งป๊กไว้ บ่เกี่ยวข้องปวดเจ็บเหน็บมึนชา<br />
เป็นไปเถ๊อะสุดแท้แต่มันจะเป็นไป ตัวเรากำหนดใจอย่างเดียวเป็นผู้รู้<br />
นั่งเป็นผู้รู้อยู่ อันนี้ละเอียดแน่สักน้อยฝึกมานาน ฝึกมานานถึงกำหนดผู้รู้ได้ไว<br />
กำหนดผู้รู้ได้ชัดเจน ถ้าฝึกอย่างหมู่เจ้าทั้งหลายนิให้นับเท่ากับอายุก่อนนะ<br />
เสร็จแล้วกะมาพุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br />
แล้วก็มา พุทธโธ อย่างเดียว ถ้ามันยังฟุ้งซ่านให้นับ พุทโธ ถึงกับห้า<br />
หลวงปู่แหวน สุจินโน เพิ่นจูงมือจูงพระหัตจูงมือพระเจ้าอยู่หัวล้นเกล้าราชกาลที่ ๙ <br />
ไป๋ไปภาวนามันยุ่งกับคนหลายคน มันยุ่งกับคนเมิดประเทศ มาภาวนาให้เจ้าของ<br />
ไป๋เข้าไปในห้อง นั่งภาวนาหลวงปู่แหวนให้พระเจ้าอยู่หัวหนับ พุทโธ ถึงห้าลดลงมาถึงหนึ่ง<br />
หนึ่งขึ้นไปถึงห้า ใจสุขใจสบายเพราะว่าพระเจ้าอยู่หัวคิด คิดกับคนเมิดประเทศชาติบ้านเมือง<br />
ในการดูแลความปกครองความคิดมากคนใช้ความคิดมากภาวนาต้องขยายออกน้อยหนึ่งนะ<br />
คนที่บ่ใช้ความคิดเอ๊าภาวนามันกะตั้งใจ มั่งคงขึ้นมาทันที มันต่างกันได๋นะฉะนั้นให้พยายาม<br />
ตั้งใจบาดนิ ทีนี่ให้ตั้งใจภาวนาของตน ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติจำเพราะหน้า ย้อนทวนถึงบุญกุศล<br />
ที่เราทำที่เราเพิ่มเติม ที่กล่าวมาให้เห็นนะความมากขึ้น ความปิติขึ้น ความสุขขึ้น ความสบายใจขึ้น<br />
ที่หมู่เจ้าทั้งหลายได้ทำมา ได้ปฏิบัติมาแล้วนะ กล่าวเป็นให้เป็นพยายหลักฐานแค่นั้นละมันรู้ได้อยู่แล้ว<br />
ในใจของหมู่เจ้าทั้งหลาย จากนี้ให้กำหนดภาวนาของใครของตน เอาตั้วใจภาวนาของตนต่อไป
-
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อุบายภาวนา
การภาวนาทุกว๊านทุกวันนิ<br /> หนึ่งพุทโธ ที่เรานึกภาวนา<br /> มันบ่หายไปไหนได๋ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ พุทโธที่เราภาวนาบ่ได้ไหไหนนะ<br /> ฉะนั้นอุบายผูกใจสบ๊ายสบายอย่างหนึ่ง<br /> ให้นับเท่ากับอายุ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> ครบอายุของตนแล้วนะ จากนี้ก็มาตั้งใจกำหนดภาวนา<br /> ตั้งกายให้มันตรงดำรงสติจำเพราะหน้า <br /> ผูกใจไว้หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าธัมหายใจออกโม หายใจเข้าสังหายใจอออกโฆ<br /> พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br /> แล้วก็เหลือไว้แต่พุทโธ อย่างเดียวบาดนิ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ พุทโธแล้วมันเกิดความง่วงนอน มันเกิดความอยากหลับ<br /> พุทโธแล้วใจมันฟุ้งซ่านได้ไว้ได้ง่าย ให้นับ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธห้า<br /> ห้าแล้วกำหนดในใจ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หนึ่งแล้วกำหนดรู้แล้วลำดับขึ้นไปใหม่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> ถึงห้า ห้าแล้วก็กำหนดใจแล้วก็ลดลงมา <br /> อันนี้ภาวนามันแก้ได้ แก้ความคิดฟุ้งซ่านได้<br /> แก้ความโงกง่วงได้ ง่วงเกินไปให้ลืมตามองไปที่จุดใดจุดหนึ่ง<br /> รวมสายตาไว้พอสมควรแล้วก็ ค่อยๆหลับตาแล้วก็ค่อยๆภาวนา<br /> กำหนดภาวนาของตนไปอันนี้คือภาวนาอย่างหยาบ<br /> ภาวนาอย่างกลางกำหนดแต่ลมหายใจ<br /> หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ อันนั้นผู้สติกล้า<br /> ผู้ตั้งมั่นได้ไวนะ นี้อย่างกลางกำหนดรู้ลมหายใจ<br /> นี้เพิ่นฮ้องว่าอานาปานสติ ได้สติคือความรู้ลมหายใจ เข้า ออก<br /> อย่างละเอียดทีนี้ อย่างละเอียดตั้งร่างกายใหม่<br /> เหมือนกับเราวางสิ่งของไว้ ตั้งป๊กไว้ บ่เกี่ยวข้องปวดเจ็บเหน็บมึนชา<br /> เป็นไปเถ๊อะสุดแท้แต่มันจะเป็นไป ตัวเรากำหนดใจอย่างเดียวเป็นผู้รู้<br /> นั่งเป็นผู้รู้อยู่ อันนี้ละเอียดแน่สักน้อยฝึกมานาน ฝึกมานานถึงกำหนดผู้รู้ได้ไว<br /> กำหนดผู้รู้ได้ชัดเจน ถ้าฝึกอย่างหมู่เจ้าทั้งหลายนิให้นับเท่ากับอายุก่อนนะ<br /> เสร็จแล้วกะมาพุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br /> แล้วก็มา พุทธโธ อย่างเดียว ถ้ามันยังฟุ้งซ่านให้นับ พุทโธ ถึงกับห้า<br /> หลวงปู่แหวน สุจินโน เพิ่นจูงมือจูงพระหัตจูงมือพระเจ้าอยู่หัวล้นเกล้าราชกาลที่ ๙ <br /> ไป๋ไปภาวนามันยุ่งกับคนหลายคน มันยุ่งกับคนเมิดประเทศ มาภาวนาให้เจ้าของ<br /> ไป๋เข้าไปในห้อง นั่งภาวนาหลวงปู่แหวนให้พระเจ้าอยู่หัวหนับ พุทโธ ถึงห้าลดลงมาถึงหนึ่ง<br /> หนึ่งขึ้นไปถึงห้า ใจสุขใจสบายเพราะว่าพระเจ้าอยู่หัวคิด คิดกับคนเมิดประเทศชาติบ้านเมือง<br /> ในการดูแลความปกครองความคิดมากคนใช้ความคิดมากภาวนาต้องขยายออกน้อยหนึ่งนะ<br /> คนที่บ่ใช้ความคิดเอ๊าภาวนามันกะตั้งใจ มั่งคงขึ้นมาทันที มันต่างกันได๋นะฉะนั้นให้พยายาม<br /> ตั้งใจบาดนิ ทีนี่ให้ตั้งใจภาวนาของตน ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติจำเพราะหน้า ย้อนทวนถึงบุญกุศล<br /> ที่เราทำที่เราเพิ่มเติม ที่กล่าวมาให้เห็นนะความมากขึ้น ความปิติขึ้น ความสุขขึ้น ความสบายใจขึ้น<br /> ที่หมู่เจ้าทั้งหลายได้ทำมา ได้ปฏิบัติมาแล้วนะ กล่าวเป็นให้เป็นพยายหลักฐานแค่นั้นละมันรู้ได้อยู่แล้ว<br /> ในใจของหมู่เจ้าทั้งหลาย จากนี้ให้กำหนดภาวนาของใครของตน เอาตั้วใจภาวนาของตนต่อไป -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อิริยาบถกับการทำสมาธิภาวนา
อิริยาบถกับการทำสมาธิภาวนา -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว :ขันธ์อาการ ๕ ภาระหนัก
ขันธ์อาการ ๕ ภาระหนัก<br /> อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๑๘ กรกฏาคม ๒๕๖๒<br /> ปัญญา ความสุข และความกล้าหาญ<br /> <br /> ปัญญา ความสุข และความกล้าหาญ<br /> ทำให้เราเป็นตัวของตัวเอง<br /> ถ้าเรารู้สึกตัวว่าเรามีปัญญา<br /> มีความสุขและความกล้าหาญแล้ว<br /> ย่อมทำให้เราเป็นตัวของตัวเองได้<br /> ไม่ต้องง้อสังคม<br /> และไม่ต้องคล้อยตาม<br /> ความนิยมของใคร<br /> ..<br /> “ปัญญา” ได้จากการ<br /> ประกอบกระทำเหตุ<br /> อันให้เกิดปัญญา เช่น<br /> ..<br /> ๑. การหมั่นสดับตรับฟัง<br /> หมั่นอ่าน หมั่นศึกษาเล่าเรียน<br /> รวมเรียกว่า สุตมยปัญญา<br /> ..<br /> ๒. หมั่นตรึกตรอง<br /> ขบคิดให้เห็นเหตุผล<br /> ให้แจ่มแจ้งขึ้นแก่ใจในเรื่องนั้นๆ<br /> เรียกว่า จินตามยปัญญา<br /> ..<br /> ๓. การลงมือทำ<br /> อบรม ปฏิบัติให้เกิดผลจริง<br /> พิสูจน์ผลได้จริงด้วยตนเอง<br /> เรียกว่า ภาวนามยปัญญา<br /> ..<br /> มีพระพุทธภาษิตอยู่บทหนึ่ง<br /> ซึ่งแสดงถึงปัญญา<br /> อันเกิดจากการประกอบกระทำ<br /> (โยคปัญญา) ว่า<br /> <br /> โยคา เว ชายเต ภูริ<br /> อโยคา ภูริสงฺขโย<br /> <br /> เอตํ เทฺวธาปถํ เปตฺวา<br /> ภวาย วภวาย จ<br /> <br /> ตถตฺตานํ นิเวเสยฺย<br /> ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ<br /> ..<br /> แปลว่า ปัญญาอันกว้างใหญ่<br /> เพียงดังแผ่นดิน<br /> ย่อมเกิดเพราะการประกอบ<br /> ปัญญาสิ้นไปเพราะการไม่ประกอบ<br /> ..<br /> บัณฑิตรู้ทางทั้ง ๒ นี้แล้วว่า<br /> ทางหนึ่งเป็นไปเพื่อความเจริญปัญญา<br /> อีกทางหนึ่งเป็นไปเพื่อเสื่อมปัญญา<br /> ..<br /> พึงตั้งตนไว้ในทางที่<br /> ปัญญาจะเจริญได้ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อ่านเทศนา พุทธอุทานกถาของท่านเจ้าคุณฯพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> "อ่านเทศนา พุทธอุทานกถา<br /> ของท่านเจ้าคุณฯพระอุบาลีคุณูปมาจารย์<br /> หลวงปู่จันทร์ สิริจนฺโท"<br /> โอวาทธรรมคำสอน<br /> “..ลูกศิษย์ของเราพึงตั้งใจดำเนินตาม ความดีเหล่านี้เป็นของกลาง ใครเอาไปไหนไม่ได้ ใครเกิดขึ้น มาปฏิบัติได้ ก็จักได้รับผล คือความดีอยู่อย่างนี้ตลอดกัปป์ตลอดกัลป์..”<br /> <br /> "..ที่ว่าร่างกายจิตใจเป็นแก้วสารพัดนึกนั้น พึงพิเคราะห์ดู เรามีตา นึกจะดูอะไรก็ดูได้เรามีหู นึกจะฟังอะไรก็ฟังได้ เรามีจมูก อยากจะรู้กลิ่นอะไรก็รู้ได้ เรามีปาก มีลิ้น นึกอยากจะรู้รสอะไรก็รู้ได้ นึกอยากจะกินอะไรก็กินได้ เรามีมือ นึกอยากจะทำอะไรก็ทำได้ เรามีเท้านึกอยากเดินไปไหนก็ไปได้ เรามีจิตมีใจ นึกอยากจะน้อมนึกตรึกตรองอะไร ก็ได้สมประสงค์ ผู้รู้ตนว่า เป็นของวิเศษอย่างนี้ ย่อมเป็นเหตุให้ได้ความสุข คือ ใช้ตามหน้าที่ ไม่ให้วัตถุเหล่านั้นเป็นข้าศึกแก่ตน คือ เกิดปฏิฆะโทมนัสยินดี ยินร้ายเพราะวัตถุของตน นิสัยของผู้ฉลาด ย่อมไม่ให้วัตถุวิเศษของตนเป็นข้าศึกแก่ตน อารมณ์ที่ผ่านไปผ่านมา เลือกเอาแต่ส่วนที่เป็นประโยชน์ ส่วนที่จักเป็นโทษ จงปล่อยผ่านไปเสีย ไม่รับไม่เก็บเข้ามาไว้ คือ หัดชำระวัตถุภายในนี้ ให้ผ่องใส สมกับที่ว่า เป็นแก้วสารพัดนึกอยู่ทุกเมื่อ อาศัยความหัด บ่อยๆ สติก็แก่ขึ้น วัตถุภายในก็ปราศจากโทษ คือ ไม่เป็นข้าศึกแก่ตน ให้ความสุขแก่ตนทุกอิริยาบถ จึงสมกับพุทธโอวาท ที่ทรงสั่งสอนว่า<br /> <br /> อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแล เป็นที่พึ่งแห่งตน<br /> <br /> ถ้าว่าโดยสมมติ สกลกายนี้เองเป็นตน ถ้าว่าโดยสกลกายนี้เองเป็นธรรม ที่ว่า อตฺตสรณา ธมฺมสรณา ให้มีตนเป็นที่ระลึกนี้ คือ ให้เห็นว่า ตนเป็นธรรม ธรรมเป็นตน ความรู้ธรรมเป็นพุทธะ สกลกายที่ทรงคุณความดีไว้เป็นธรรมะ ความประพฤติให้คุณความดี มีขึ้นในตนเป็นสังฆะ ผู้ที่มีพุทธะ ธรรมะ สังฆะในตนอย่างนี้ ชื่อว่า ผู้ถึงไตรสรณคมน์ในชาตินี้<br /> <br /> ตลอดชาติชั้นศีล ชั้นสมาธิ ชั้นปัญญา ชั้นวิมุตติ ชั้นวิมุตติญาณทัสสนะ สุดแท้แต่วาสนาของใครจะถึงได้ในชั้นใด จะต้องได้รับผล คือ ความสุขตามชั้นตามภูมิของตนทั้งนั้น อย่าเป็นคนสงสัย ลังเลยึดให้มั่นคั้นให้ตาย อย่างมงายเชื่อเกจิอาจารย์ที่สอน นอกรีตนอกทาง อย่าพากันหลงใหลไปตามเขา เพราะพระนิพพานของ พระพุทธเจ้า ที่เรียกว่า นิพพานสมบัติ คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา และ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ มีสติปัฏฐาน เป็นต้น มีอัฏฐังคิกมรรค เป็นที่สุด เหล่านี้เป็นนิพพานสมบัติ อย่างอื่นๆ ถ้าไม่เป็นไปตามนี้เป็นอวิชชาทั้งนั้น<br /> <br /> พวกเราเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ต้องประพฤติตนให้มั่งมีเหมือนพระพุทธเจ้า ทั้งสมบัติภายนอกแลสมบัติภายใน.."<br /> <br /> _/\_ _/\_ _/\_ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เจริญมรณานุสสติข่มตนต้นพรรษา
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> เจริญมรณานุสสติข่มตนต้นพรรษา -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อนัตตลักขณสูตร อธิบาย
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> /// อนัตตลักขณสูตร ; อธิบาย ///<br /> อนัตตลักขณสูตร<br /> <br /> ครั้นเมื่อถึงวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 (5วันหลังวันอาสาฬหบูชา ที่พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จนพระอัญญาโกณฑัญญะบรรลุโสดาบัน และในวันต่อ ๆ มา คือในวันแรม 1 ค่ำ 2 ค่ำ 3 ค่ำ และ 4 ค่ำเดือน 8 ทรงแสดง “ปกิณณกเทศนา” ยังผลให้พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ บรรลุโสดาบันตามลำดับ และได้รับเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว) พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์เรื่องอนัตตลักขณสูตร ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี หลังจากสดับพระธรรมเทศนาพระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง 5 รูป นับเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรกในพระบวรพุทธศาสนา<br /> <br /> อนัตตลักขณสูตร เป็นพระสูตรที่ยังให้เกิดพระอรหันต์ในคราวเดียวกันถึง 5 องค์ อีกทั้งยังเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรก นับเป็นการลงหลักปักฐานพระธรรมวินัยของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครั้งสำคัญ เชื่อถือกันว่า พระสูตรนี้เป็นหนึ่งในพระสูตรสำคัญรวบรวมเอาหัวใจของพระบวรพุทธศาสนาไว้ อย่างครอบคลุม กว้างขวาง จึงขนานนามกันว่าเป็น "ราชาธรรม" เช่นเดียวกับ ธัมมจักกัปปวัตนสูตรและอาทิตตปริยายสูตร ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ และยังให้บังเกิดการประกาศพระศาสนาครั้งใหญ่ไปทั่วสากลจักรวาล และบังเกิดพระอรหันต์เป็นจำนวนมาก<br /> <br /> ดังปรากฏในเนื้อความของพระสูตรดังที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ หรือ พระอาจารย์ผู้ทำสังคายนาร้อยกรองตั้งเป็นพระบาลีไว้ ได้กล่าวไว้ในตอนท้ายพระสูตรไว้ ดังนี้<br /> <br /> " อิทมโวจ ภควา. อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุ. อิมสฺมึ จ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. เตน โข ปน สมเยน ฉ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ."<br /> <br /> ความว่า<br /> <br /> "พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาค. ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก 6 องค์" -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : สัตตหะนอก บ่งบอกสัตตหะใน
สัตตหะนอก บ่งบอกสัตตหะใน -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ธรรมเป็นเหตุมีกำลังยิ่งเป็นปัจจัย
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> ธรรมเป็นเหตุมีกำลังยิ่งเป็นปัจจัย -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : สำรวมในศีล ไม่ประมาทในธรรม
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> สำรวมในศีล ไม่ประมาทในธรรม -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว :กติกาสงฆ์วัดป่าวิเวกวัฒนาราม
อบรมภาวนาเย็น<br /> วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> (กติกาสงฆ์วัดป่าวิเวกวัฒนาราม)<br /> ภัยของพระ<br /> <br /> โลภ โกรธ หลง ๓ ตัวนี้ย่อมเป็นภัยอย่างยิ่งแก่ พระ<br /> <br /> พระ ในที่นี้หมายถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณซึ่งเป็นองค์ภาวนาที่เรารักษาอยู่<br /> <br /> ถ้าเรามีพระ ๓ องค์นี้ผูกคอไว้ ย่อมเป็นเครื่องประกันความไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บและไม่ตายได้<br /> <br /> แต่ถ้าตัวโลภ โกรธ หลง เข้ามาแทรกจิตใจของเราเมื่อใด<br /> <br /> พระ ๓ องค์นี้ท่านก็หนีหาย<br /> <br /> ท่านพ่อลี ธมฺมธโร -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ธรรมะคือหลักของใจ (วันเข้าพรรษา ๒๕๖๒ )
ธรรมะคือหลักของใจ<br /> อบรมภาวนาบ่าย วันเข้าพรรษา<br /> วันที่ ๑๗ กรกฏาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : โอวาทวันเข้าพรรษาสอนพระ ๒๕๖๒
-
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อบรมภาวนาบ่าย ๒๕ กรกฏาคม ๒๕๖๒
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> " ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไม่มีความสุขใดเสมอด้วยความสงบ ความสุขชนิดนี้สามารถหาได้ด้วยตัวเรานี้เองตราบใดที่มนุษย์ยังวิ่งวุ่นแสวงหาความสุขจากที่อื่น เขาจะไม่พบความสุขที่แท้จริงเลยมนุษย์ได้สร้างสรรค์สิ่งต่างๆขึ้นไว้เพื่อให้ตัวเองวิ่งตามแต่ก็ตามไม่เคยทันการแสวงหาความสุขโดยปล่อยใจให้ไหลเลื่อนไปตามอารมณ์ที่ปรารถนานั้นเป็นการลงทุนที่มีผลไม่คุ้มเหนื่อยเหมือนบุคคลลงทุนวิดน้ำในบึงใหญ่เพื่อต้องการปลาเล็ก ๆ เพียงตัวเดียวมนุษย์ส่วนใหญ่มัววุ่นวายอยู่กับเรื่องกาม เรื่องกินและเรื่องเกียรติ จนลืมนึกถึงสิ่งหนึ่งซึ่งสามารถให้ความสุขแก่ตนได้ทุกเวลา สิ่งนั้นคือดวงจิตที่ผ่องแผ่ว เรื่องกามเป็นเรื่องที่ต้องดิ้นรนเรื่องกินเป็นเรื่องที่ต้องแสวงหา เรื่องเกียรติเป็นเรื่องที่ต้องแบกไว้ภาระที่ต้องแบกเกียรติเป็นเรื่องที่ใหญ่ยิ่งของมนุษย์ผู้หลงตนว่าเจริญแล้วในหมู่ชนที่เพ่งแต่ความเจริญทางด้านวัตถุนั้น จิตใจของเขาเร่าร้อนอยู่ตลอดเวลาไม่เคยประสบความสงบเย็นเลย เขายินดีที่จะมอบตัวให้จมอยู่ในคาวของโลกอย่างหลับหูหลับตาเขาพากันบ่นว่าหนักและเหน็ดเหนื่อย พร้อมๆกันนั้นเขาได้แบกก้อนหินวิ่งไปบนถนนแห่งชีวิตอย่างไม่แน่นอน -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : จิตแหละเป็นตัวนำทุกข์มาให้
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> จิตแหละเป็นตัวนำทุกข์มาให้<br /> ครั้นฝึกฝนดีแล้ว นำความสุขมาให้<br /> อยู่ในโลกนี้ก็มีสุข ความทุกข์ไม่มี<br /> อันนี้มันเป็นธรรมดาของอัตภาพของสภาวะ<br /> มันเป็นเองของมัน ถึงมันจะทุกข์ปานใด<br /> มันก็ไม่มีความเดือดร้อน หวาดเสียวต่อความทุกข์<br /> <br /> หลวงปู่ขาว อนาลโย -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อบรมภาวนาบ่ายวันที ๒๗ กรกฏาคม ๒๕๖๒
อบรมภาวนาบ่ายวันที ๒๗ กรกฏาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เวลาของชีวิต
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> เวลาของชีวิต -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เป็นฅนดี ไม่ต้องเหนื่อย
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> (เป็น)ฅนดี ไม่(ต้อง)เหนื่อย<br /> .<br /> การที่บุคคลใดนั้นบ่นบอกว่าการเป็นฅนดีนั้นมันเหนื่อย การเป็นฅนดีนั้นมันลำบาก<br /> ถ้าเป็นฅนดีแล้วทำให้รู้สึกเหนื่อย รู้สึกลำบาก ก็แสดงว่ายังดีไม่จริง<br /> ฅนที่เขาดีจริงเขาจะไม่รู้สึกว่าสิ่งที่ตนทำไปนั้นมันเหนื่อย<br /> แต่เขาจะรู้สึกว่าทำแล้วรู้สึกดี ทำแล้วมีความสุข ทำแล้วสบายใจ<br /> ทำแล้วรู้สึกว่ามันคุ้มค่าที่ได้ทำ ทำแล้วก็แล้วไป<br /> ไม่มีมาบ่นว่าการเป็นฅนดีมันเหนื่อย เพราะเขาได้ก้าวข้ามความเป็นฅนดีไปแล้ว<br /> มีแต่รู้สึกว่าเขาต้องทำ ถ้าไม่ทำแล้วมันรู้สึกไม่ดี ไม่ใช่รู้สึกเหนื่อย<br /> ดังนั้น การกล่าวเช่นนั้นอาจทำให้ฅนอื่น เข็ดขยาดหวาดกลัวต่อการทำดี<br /> มองว่าการทำดีช่วยให้ตนเองมีความสุขไม่ได้ ทำให้ตนเองนั้นเดือดร้อน การทำดีเป็นเรื่องของพวกโลกสวย<br /> .<br /> นั่นไม่ใช่เจตนาของการทำ(ความ)ดี<br /> การทำดีไม่ใช่การอวดอ้างสร้างภาพให้ตนเองดูดี<br /> แล้วบอกว่านั่นคือการทำดี การทำดีแม้ไม่ต้องอวดมันก็คือความดีที่ได้ทำ<br /> การทำดีกับการเป็นฅนดี มันเป็นคนละเรื่องเดียวกัน<br /> เพราะหากวันหนึ่งฅนที่เรามองว่าเขาไม่ดี แต่เขาเกิดรู้สึกอยากทำดีขึ้นมาบ้าง<br /> เราจะบอกว่าเขาทำดีกลบเกลื่อน ทำดีเอาหน้า ทำดีหวังผลประโยชน์ได้หรือไม่<br /> หรือหากวันหนึ่งฅนที่เรามองว่าเขาเป็นฅนดี แต่การกระทำบางอย่างของเขาไม่ดี<br /> การกระทำบางอย่างของเขามันค้านสายตา ค้านความรู้สึกของเรา เราจะรู้สึกอย่างไร<br /> เราคาดหวังให้ฅนที่เรามองว่าดีให้เขาทำสิ่งดีๆ ให้เราเห็น<br /> แต่เราไม่คาดหวังและไม่ต้องการให้ฅนที่เรามองว่าไม่ดีมาทำดีใดๆ ให้เราเห็นทั้งนั้น<br /> หรือถ้าจะว่ากันหยาบๆ เราก็คงจะบอกว่า ไอ้ฅนไม่ดีฅนนั้น มันสร้างภาพ มันตอแหลแกล้งทำดีไปอย่างนั้นเอง<br /> หากคิดอย่างนี้ แล้วเรายังจะมีดีอะไรให้เขาดูได้อีก<br /> ฅนเราทุกวันนี้บางส่วนมองการทำความดีอย่างตื้นเขิน มองการทำความดีตามหลักการ<br /> แต่มองข้ามการทำความดีตามวิถีชีวิตความเป็นจริง<br /> ขาดสมดุลในการดำรงชีวิต ในการตัดสินใจ ใช้ชีวิตสิ้นเปลืองสุดโต่ง<br /> ดังนั้น เราจึงไม่อาจกำหนดกกฏเกณฑ์ชี้ชัดถึงความเป็นฅนดีได้<br /> .<br /> โลกจะสวยหรือไม่สวย มันไม่ได้อยู่ที่ถ้อยคำ<br /> หรือการกระทำของบุคคล<br /> หากมันอยู่ที่ทัศนคติของบุคคลที่จะมองให้มันเป็น<br /> โลกมันจึงไม่มีที่สวย หรือไม่สวย ไม่มีว่ามืดหรือสว่าง<br /> โลกมันก็ยังเป็นอย่างที่มันเป็น ยังคงหมุนไปของมันอยู่อย่างนั้น<br /> ฅนเรานั้นต่างหากที่จะทำให้มันดีหรือเลว ทำให้มันสวยหรือเลวร้าย<br /> ไม่ได้อยู่ที่ปากของฅนจะชี้นำให้มันเป็นไป<br /> .<br /> ฅนเรานั้นชอบสร้างวาทะกรรมขึ้นมาดูถูกเหยียดหยามกันเอง แล้วก็ทะเลาะกันเอง ไม่พอใจกันเอง<br /> เมื่อความอดทนอดกลั้น ความยับยั้งชั่งใจมันหายไป ความบรรลัยมันก็บังเกิดเมื่อนั้น<br /> <br /> ท่านฮวงโปได้กล่าวไว้ว่า<br /> " การสร้างสมความดีและความชั่ว ทั้งสองอย่างนี้ เนื่องมาจากความยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรม<br /> ผู้ที่ยึดมั่นในรูปธรรมซึ่งการทำความชั่วจะต้องทนรับการเกิดแล้วเกิดอีก อันมีประการต่างๆ อย่างไม่จำเป็น<br /> ส่วนผู้ที่ยึดมั่นในรูปธรรมซึ่งการทำความดี ก็ทำตัวเองให้ตกลงไปเป็นทาสของความพยายาม<br /> มันจะเกิดความรู้สึกว่าตนเป็นผู้ขาดแคลนอยู่เสมอโดยเท่าเทียมกันอย่างไม่มีที่มุ่งหมาย<br /> ในทั้งสองกรณีนั้น มันจะเป็นการดีเสียกว่า ถ้าหากว่าเขาจะทำให้เกิดความเห็นแจ้งในตนเองอย่างฉับพลัน<br /> และในการที่จะยึด 'หลักธรรม' อันเป็นหลักมูลฐานของสัตว์ทั้งหลาย ฯ<br /> .<br /> เพราะฉะนั้น พวกเธอซึ่งเป็นนักศึกษาเรื่อง 'ทาง' ทางโน้นควรจะละเว้นขาดจากความคิดปรุงแต่งเสียทันที<br /> ขอให้เข้าใจอย่างเงียบเชียบอย่างเดียวก็เป็นพอ<br /> พฤติกรรมทางจิตไม่ว่าชนิดไหนหมด ย่อมนำเราไปสู่ความผิดพลาดทั้งสิ้น<br /> มีสิ่งที่ต้องทำอยู่ก็แต่เพียงการรับการถ่ายทอด จิต ด้วย จิต เท่านั้น<br /> นี้คือทัศนะอย่างเดียวที่ต้องถือไว้<br /> .<br /> จงระวังอย่าให้เพ่งเล็งไปทางภายนอก ไปยังสิ่งแวดล้อมต่างๆ ทางวัตถุ<br /> การเข้าใจผิดว่า 'สิ่งแวดล้อมต่างๆ' ทางวัตถุ มีอยู่เพื่อ จิต นั้น<br /> ก็เท่ากับไปเข้าใจว่า โจรนั้นเป็นลูกของเธอ "<br /> .<br /> เพจนี้ไม่ได้ต้องการชี้นำ ชี้ถูกชี้ผิดใคร และไม่ต้องการให้ผู้ติดตามเพจนี้ไปชี้ผิดชี้ถูกใครจนเกิดกลายเป็นข้อถกเถียงหาที่สิ้นสุดมิได้<br /> หากต้องการให้ทุกฅนทุกท่านได้ขบคิดพิจารณาสิ่งต่างๆไปตามสภาวะ จนเกิดปัญญาญาณด้วยตนเอง สมดังที่พระพุทธองค์ได้กล่าวไว้ว่า ตนนั่นแลคือที่พึ่งแห่งตน<br /> ทั้งหมดทั้งมวลนั้นก็มีเพียงเท่านี้ ฯ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : วางใจให้ถูกก่อนการให้ทาน
อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> ///วางใจให้ถูกก่อนการให้ทาน//// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ผู้อบรมตนอยู่เสมอคือบัณฑิต
ผู้อบรมตนอยู่เสมอคือบัณฑิต<br /> อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : จงพิจารณาจิตที่หลุดพ้นแล้วนั้น
จงพิจารณาจิตที่หลุดพ้นแล้วนั้น<br /> อบรมภาวนาบ่าย<br /> วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒
No comment yet, add your voice below!