ปกิณกะธรรมวินัย เข้าพรรษา ๒๕๖๒
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อุบายภาวนา
การภาวนาทุกว๊านทุกวันนิ<br />
หนึ่งพุทโธ ที่เรานึกภาวนา<br />
มันบ่หายไปไหนได๋ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ พุทโธที่เราภาวนาบ่ได้ไหไหนนะ<br />
ฉะนั้นอุบายผูกใจสบ๊ายสบายอย่างหนึ่ง<br />
ให้นับเท่ากับอายุ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
ครบอายุของตนแล้วนะ จากนี้ก็มาตั้งใจกำหนดภาวนา<br />
ตั้งกายให้มันตรงดำรงสติจำเพราะหน้า <br />
ผูกใจไว้หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าธัมหายใจออกโม หายใจเข้าสังหายใจอออกโฆ<br />
พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br />
แล้วก็เหลือไว้แต่พุทโธ อย่างเดียวบาดนิ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br />
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ พุทโธแล้วมันเกิดความง่วงนอน มันเกิดความอยากหลับ<br />
พุทโธแล้วใจมันฟุ้งซ่านได้ไว้ได้ง่าย ให้นับ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธห้า<br />
ห้าแล้วกำหนดในใจ <br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หนึ่งแล้วกำหนดรู้แล้วลำดับขึ้นไปใหม่<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br />
หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br />
ถึงห้า ห้าแล้วก็กำหนดใจแล้วก็ลดลงมา <br />
อันนี้ภาวนามันแก้ได้ แก้ความคิดฟุ้งซ่านได้<br />
แก้ความโงกง่วงได้ ง่วงเกินไปให้ลืมตามองไปที่จุดใดจุดหนึ่ง<br />
รวมสายตาไว้พอสมควรแล้วก็ ค่อยๆหลับตาแล้วก็ค่อยๆภาวนา<br />
กำหนดภาวนาของตนไปอันนี้คือภาวนาอย่างหยาบ<br />
ภาวนาอย่างกลางกำหนดแต่ลมหายใจ<br />
หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ อันนั้นผู้สติกล้า<br />
ผู้ตั้งมั่นได้ไวนะ นี้อย่างกลางกำหนดรู้ลมหายใจ<br />
นี้เพิ่นฮ้องว่าอานาปานสติ ได้สติคือความรู้ลมหายใจ เข้า ออก<br />
อย่างละเอียดทีนี้ อย่างละเอียดตั้งร่างกายใหม่<br />
เหมือนกับเราวางสิ่งของไว้ ตั้งป๊กไว้ บ่เกี่ยวข้องปวดเจ็บเหน็บมึนชา<br />
เป็นไปเถ๊อะสุดแท้แต่มันจะเป็นไป ตัวเรากำหนดใจอย่างเดียวเป็นผู้รู้<br />
นั่งเป็นผู้รู้อยู่ อันนี้ละเอียดแน่สักน้อยฝึกมานาน ฝึกมานานถึงกำหนดผู้รู้ได้ไว<br />
กำหนดผู้รู้ได้ชัดเจน ถ้าฝึกอย่างหมู่เจ้าทั้งหลายนิให้นับเท่ากับอายุก่อนนะ<br />
เสร็จแล้วกะมาพุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br />
แล้วก็มา พุทธโธ อย่างเดียว ถ้ามันยังฟุ้งซ่านให้นับ พุทโธ ถึงกับห้า<br />
หลวงปู่แหวน สุจินโน เพิ่นจูงมือจูงพระหัตจูงมือพระเจ้าอยู่หัวล้นเกล้าราชกาลที่ ๙ <br />
ไป๋ไปภาวนามันยุ่งกับคนหลายคน มันยุ่งกับคนเมิดประเทศ มาภาวนาให้เจ้าของ<br />
ไป๋เข้าไปในห้อง นั่งภาวนาหลวงปู่แหวนให้พระเจ้าอยู่หัวหนับ พุทโธ ถึงห้าลดลงมาถึงหนึ่ง<br />
หนึ่งขึ้นไปถึงห้า ใจสุขใจสบายเพราะว่าพระเจ้าอยู่หัวคิด คิดกับคนเมิดประเทศชาติบ้านเมือง<br />
ในการดูแลความปกครองความคิดมากคนใช้ความคิดมากภาวนาต้องขยายออกน้อยหนึ่งนะ<br />
คนที่บ่ใช้ความคิดเอ๊าภาวนามันกะตั้งใจ มั่งคงขึ้นมาทันที มันต่างกันได๋นะฉะนั้นให้พยายาม<br />
ตั้งใจบาดนิ ทีนี่ให้ตั้งใจภาวนาของตน ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติจำเพราะหน้า ย้อนทวนถึงบุญกุศล<br />
ที่เราทำที่เราเพิ่มเติม ที่กล่าวมาให้เห็นนะความมากขึ้น ความปิติขึ้น ความสุขขึ้น ความสบายใจขึ้น<br />
ที่หมู่เจ้าทั้งหลายได้ทำมา ได้ปฏิบัติมาแล้วนะ กล่าวเป็นให้เป็นพยายหลักฐานแค่นั้นละมันรู้ได้อยู่แล้ว<br />
ในใจของหมู่เจ้าทั้งหลาย จากนี้ให้กำหนดภาวนาของใครของตน เอาตั้วใจภาวนาของตนต่อไป
-
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อุบายภาวนา
การภาวนาทุกว๊านทุกวันนิ<br /> หนึ่งพุทโธ ที่เรานึกภาวนา<br /> มันบ่หายไปไหนได๋ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ พุทโธที่เราภาวนาบ่ได้ไหไหนนะ<br /> ฉะนั้นอุบายผูกใจสบ๊ายสบายอย่างหนึ่ง<br /> ให้นับเท่ากับอายุ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> ครบอายุของตนแล้วนะ จากนี้ก็มาตั้งใจกำหนดภาวนา<br /> ตั้งกายให้มันตรงดำรงสติจำเพราะหน้า <br /> ผูกใจไว้หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าธัมหายใจออกโม หายใจเข้าสังหายใจอออกโฆ<br /> พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br /> แล้วก็เหลือไว้แต่พุทโธ อย่างเดียวบาดนิ หายใจเข้าพุทหายใจออกโธ<br /> หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ พุทโธแล้วมันเกิดความง่วงนอน มันเกิดความอยากหลับ<br /> พุทโธแล้วใจมันฟุ้งซ่านได้ไว้ได้ง่าย ให้นับ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธห้า<br /> ห้าแล้วกำหนดในใจ <br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสี่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสาม<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หนึ่งแล้วกำหนดรู้แล้วลำดับขึ้นไปใหม่<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธหนึ่ง<br /> หายใจเข้าพุทหายใจออกโธสอง<br /> ถึงห้า ห้าแล้วก็กำหนดใจแล้วก็ลดลงมา <br /> อันนี้ภาวนามันแก้ได้ แก้ความคิดฟุ้งซ่านได้<br /> แก้ความโงกง่วงได้ ง่วงเกินไปให้ลืมตามองไปที่จุดใดจุดหนึ่ง<br /> รวมสายตาไว้พอสมควรแล้วก็ ค่อยๆหลับตาแล้วก็ค่อยๆภาวนา<br /> กำหนดภาวนาของตนไปอันนี้คือภาวนาอย่างหยาบ<br /> ภาวนาอย่างกลางกำหนดแต่ลมหายใจ<br /> หายใจเข้ารู้ หายใจออกรู้ อันนั้นผู้สติกล้า<br /> ผู้ตั้งมั่นได้ไวนะ นี้อย่างกลางกำหนดรู้ลมหายใจ<br /> นี้เพิ่นฮ้องว่าอานาปานสติ ได้สติคือความรู้ลมหายใจ เข้า ออก<br /> อย่างละเอียดทีนี้ อย่างละเอียดตั้งร่างกายใหม่<br /> เหมือนกับเราวางสิ่งของไว้ ตั้งป๊กไว้ บ่เกี่ยวข้องปวดเจ็บเหน็บมึนชา<br /> เป็นไปเถ๊อะสุดแท้แต่มันจะเป็นไป ตัวเรากำหนดใจอย่างเดียวเป็นผู้รู้<br /> นั่งเป็นผู้รู้อยู่ อันนี้ละเอียดแน่สักน้อยฝึกมานาน ฝึกมานานถึงกำหนดผู้รู้ได้ไว<br /> กำหนดผู้รู้ได้ชัดเจน ถ้าฝึกอย่างหมู่เจ้าทั้งหลายนิให้นับเท่ากับอายุก่อนนะ<br /> เสร็จแล้วกะมาพุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ <br /> แล้วก็มา พุทธโธ อย่างเดียว ถ้ามันยังฟุ้งซ่านให้นับ พุทโธ ถึงกับห้า<br /> หลวงปู่แหวน สุจินโน เพิ่นจูงมือจูงพระหัตจูงมือพระเจ้าอยู่หัวล้นเกล้าราชกาลที่ ๙ <br /> ไป๋ไปภาวนามันยุ่งกับคนหลายคน มันยุ่งกับคนเมิดประเทศ มาภาวนาให้เจ้าของ<br /> ไป๋เข้าไปในห้อง นั่งภาวนาหลวงปู่แหวนให้พระเจ้าอยู่หัวหนับ พุทโธ ถึงห้าลดลงมาถึงหนึ่ง<br /> หนึ่งขึ้นไปถึงห้า ใจสุขใจสบายเพราะว่าพระเจ้าอยู่หัวคิด คิดกับคนเมิดประเทศชาติบ้านเมือง<br /> ในการดูแลความปกครองความคิดมากคนใช้ความคิดมากภาวนาต้องขยายออกน้อยหนึ่งนะ<br /> คนที่บ่ใช้ความคิดเอ๊าภาวนามันกะตั้งใจ มั่งคงขึ้นมาทันที มันต่างกันได๋นะฉะนั้นให้พยายาม<br /> ตั้งใจบาดนิ ทีนี่ให้ตั้งใจภาวนาของตน ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติจำเพราะหน้า ย้อนทวนถึงบุญกุศล<br /> ที่เราทำที่เราเพิ่มเติม ที่กล่าวมาให้เห็นนะความมากขึ้น ความปิติขึ้น ความสุขขึ้น ความสบายใจขึ้น<br /> ที่หมู่เจ้าทั้งหลายได้ทำมา ได้ปฏิบัติมาแล้วนะ กล่าวเป็นให้เป็นพยายหลักฐานแค่นั้นละมันรู้ได้อยู่แล้ว<br /> ในใจของหมู่เจ้าทั้งหลาย จากนี้ให้กำหนดภาวนาของใครของตน เอาตั้วใจภาวนาของตนต่อไป -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อิริยาบถกับการทำสมาธิภาวนา
อิริยาบถกับการทำสมาธิภาวนา -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ธุตะธรรมจากธุดงควัตร
ธุตะธรรมจากธุดงควัตร -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เกียรติภูมิของนักบวช
เกียรติภูมิของนักบวช -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : บรรพชิตอยู่ให้ต่ำจิตมันสูงเอง
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> บรรพชิต อยู่ให้ต่ำ จิตมันสูงเอง<br /> ความต่ำมันจะไม่สร้างฐานกิเลส<br /> <br /> "อยู่ให้ต่ำ ด้วยการเป็นอยู่ที่มันต่ำ<br /> ทางกาย ทางวัตถุ นี้ให้ต่ำ แล้วทางจิตมันสูงเองแหละ.<br /> <br /> ถ้าอยู่ทางกายอยู่ดี กินดี สนุกสนาน หอมหวนชวนอร่อย แล้วจิตมันต่ำเองแหละ จิตมันทรามเองไม่ต้องสงสัย ถ้าอยากให้จิตสูง ก็เป็นอยู่ทางกายให้มันต่ำ.<br /> <br /> พระพุทธเจ้าประสูติกลางดิน พระพุทธเจ้าตรัสรู้กลางดิน พระพุทธเจ้าสอนกลางดิน อยู่กลางดิน, พระพุทธเจ้านิพพานกลางดิน, เอานั่นแหละเป็นหลัก เป็นทิฎฐานุคติ หรืออุทาหรณ์<br /> <br /> อย่าไปหวังนั่นนี่ ให้มันกลายเป็นเรื่องของฆราวาสไปเสีย ไม่ใช่ของบรรพชิต ของบรรพชิตต้องอยู่กันต่ำๆ ไม่แปลก ความต่ำๆนั่นแหละกลายเป็นมีประโยชน์ มันจะไม่สร้างฐานของกิเลส." -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : อาหาเรปฏิกูลสัญญา ; สกปรกของอาหาร
อาหาเรปฏิกูลสัญญา ; สกปรกของอาหาร -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : พรหม จริยา
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> พรหม จริยา -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ทิฏฺฐิมากเป็นโทษมาก
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> ทิฏฺฐิมากเป็นโทษมาก -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : บุคคล ๓ ประเภท
ปกิณกะธรรม<br /> วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> ///บุคคล ๓ ประเภท/// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ใจจำพรรษา
ปะกิณกะธรรมวินัย<br /> ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> ///_ใจจำพรรษา…/// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว :กติกาสงฆ์วัดป่าวิเวกวัฒนาราม
อบรมภาวนาเย็น<br /> วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> (กติกาสงฆ์วัดป่าวิเวกวัฒนาราม)<br /> ภัยของพระ<br /> <br /> โลภ โกรธ หลง ๓ ตัวนี้ย่อมเป็นภัยอย่างยิ่งแก่ พระ<br /> <br /> พระ ในที่นี้หมายถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณซึ่งเป็นองค์ภาวนาที่เรารักษาอยู่<br /> <br /> ถ้าเรามีพระ ๓ องค์นี้ผูกคอไว้ ย่อมเป็นเครื่องประกันความไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บและไม่ตายได้<br /> <br /> แต่ถ้าตัวโลภ โกรธ หลง เข้ามาแทรกจิตใจของเราเมื่อใด<br /> <br /> พระ ๓ องค์นี้ท่านก็หนีหาย<br /> <br /> ท่านพ่อลี ธมฺมธโร -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : โอวาทวันเข้าพรรษาสอนพระ ๒๕๖๒
-
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เงินกับการปฏิบัติต่อ
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> ///เงินกับการปฏิบัติต่อ/// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : เกียรติภูมิของพระเณร
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> ///เกียรติภูมิของพระเณร//// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ความงดงามของพระเณร
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> <br /> ///ความงดงามของพระเณร///// -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ภิกษุไม่พึงทำความหลับให้มาก
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒<br /> [๗๔๙] ภิกษุไม่พึงทำความหลับให้มาก พึงมีความเพียร ซ่องเสพความเป็นผู้ตื่น พึงละเว้นความเกียจคร้าน ความลวง ความหัวเราะ การเล่น เมถุนธรรม อันเป็นไปกับด้วยการประดับ.<br /> [๗๕๐] คำว่า ภิกษุไม่พึงทำความหลับให้มาก ความว่า ภิกษุพึงแบ่งกลางคืนและ<br /> กลางวันให้เป็น ๖ ส่วนแล้ว ตื่นอยู่ ๕ ส่วน นอนหลับ ๑ ส่วน เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภิกษุ<br /> ไม่พึงทำความหลับให้มาก.<br /> [๗๕๑] คำว่า พึงมีความเพียรซ่องเสพความเป็นผู้ตื่น ความว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้<br /> พึงชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเป็นเครื่องกางกั้น ด้วยการเดินจงกรมและการนั่งตลอดวัน พึงชำระ<br /> จิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเป็นเครื่องกางกั้น ด้วยการเดินจงกรมและการนั่ง ตลอดปฐมยามแห่งราตรี<br /> พึงสำเร็จสีหไสยา (นอนเหมือนราชสีห์) โดยข้างเบื้องขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะ<br /> ทำสัญญาในการตื่นขึ้นไว้ในใจ ตลอดมัชฌิมยามแห่งราตรี กลับตื่นขึ้นแล้ว พึงชำระจิตให้<br /> บริสุทธิ์จากธรรมเป็นเครื่องกางกั้น ด้วยการเดินจงกรมและการนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี.<br /> คำว่า ซ่องเสพความเป็นผู้ตื่น คือ พึงซ่องเสพ ซ่องเสพพร้อม ซ่องเสพเฉพาะ<br /> ซึ่งความเป็นผู้ตื่น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงซ่องเสพความเป็นผู้ตื่น.<br /> คำว่า มีความเพียร ความว่า วิริยะเรียกว่าความเพียร ได้แก่การปรารภความเพียร<br /> ความก้าวออก ความก้าวหน้า ความย่างขึ้นไป ความพยายาม ความอุตสาหะ ความขยัน ความ<br /> มั่นคง ความทรงไว้ ความก้าวหน้ามิได้ย่อหย่อน ความไม่ปลงฉันทะ ความไม่ทอดธุระ ความ<br /> ประคองธุระไว้ วิริยะ วิริยินทรีย์ วิริยพละ สัมมาวายามะ อันเป็นไปทางจิต ภิกษุเป็นผู้เข้าถึง<br /> เข้าถึงพร้อม เข้าไป เข้าไปพร้อม เข้าไปถึง เข้าไปถึงพร้อม ประกอบแล้วด้วยความเพียรนี้<br /> ภิกษุนั้นเรียกว่า มีความเพียร เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พึงมีความเพียรซ่องเสพความเป็นผู้ตื่น. -
อานิสงส์การอดนอนถวายดวงตา
อานิสงส์การอดนอนถวายดวงตา<br /> ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ปกิณกะธรรมวินัยวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๒
ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ปกิณกะธรรมวินัยวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๒
ปกิณกะธรรมวินัยวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๒ -
พระธมฺมธโร ครูบาแจ๋ว : ประพฤติกาย วาจา ใจ สุจริต
ประพฤติกาย วาจา ใจ สุจริต <br /> ปกิณกะธรรมวินัย<br /> วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๒<br /> ประพฤติกาย วาจา ใจ สุจริต<br /> <br /> ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตนั้นนั่นแล ถ้ามาสู่ความเป็นมนุษย์ในบางครั้งบางคราวไม่ว่ากาลไหนๆ โดยล่วงระยะกาลนาน ก็ย่อมเกิดในสกุลสูง คือ สกุลกษัตริย์มหาศาล หรือสกุลพราหมณ์มหาศาล หรือสกุลคฤหบดีมหาศาล เห็นปานนั้นในบั้นปลาย อันเป็นสกุลมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินอุปกรณ์เครื่องปลื้มใจ และทรัพย์ธัญญาหารอย่างเพียงพอ และเขา จะเป็นผู้มีรูปงาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้วยความงามแห่งผิวพรรณอย่างยิ่งมีปรกติได้ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่ อาศัยและเครื่องตามประทีป<br /> เขาจะประพฤติกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริตครั้นแล้วเมื่อตายไปจะเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ<br /> <br /> (ไทย) อุปริ.ม. ๑๔/๒๕๔/๕๐๒<br /> (บาลี) อุปริ.ม. ๑๔/๓๓๒/๕๐๒
No comment yet, add your voice below!